บันทึกอนุทินครั้งที่ 11
วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน2558
Knowledge
ภาพยนตร์ขนาดสั้น เรื่อง ด.เด็ก ช.ช้าง
เป็นภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลเรื่องสั้นยอดเยี่ยม ในเทศกาลเรื่องสั้นครั้งที่หก สะท้อนเรื่องราวชีวิตของครูและนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่ง
ชมวิดิโอการสังเกตการสอน
ของ นักศึกษาชั้นปีที่ 4(1/2558) สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ณ โรงเรียนอนุบาลพิบูลย์เวศน์
จาการชมวิดิโอ การจัดกิจกรรมให้เด็กเน้นการลงมือกระทำโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกให้กับเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กได้ลองคิด ลองทำ ไม่ปิดกั้นจินตนาการของเด็ก
การกระตุ้นและผ่อนคลายสมอง( brain )
การกระตุ้นและผ่อนคลายสมอง( brain )
1.กดปุ่มสมอง จับไหล่ปลาร้า
1.กดปุ่มสมอง จับไหล่ปลาร้า
1. ใช้มือซ้ายวางบริเวณที่ใต้กระดูกคอและซี่โครงของกระดูกอก หรือที่เรียกว่าไหปลาร้าจะมีหลุมตื้น ๆ บนผิวหนัง ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ คลำหาร่องหลุ่มตื้นๆ 2 ช่องนี้ซึ่งห่างกันประมาณ 1 นิ้วหรือมากกว่านี้ขึ้นอยู่กับขนาด
2.ร่างกายของแต่ะละคนที่มีขนาดไม่เท่ากัน ให้นวดบริเวณนี้ประมาณ 30 วินาที และให้เอามือขวาวางไปที่ตำแหน่งสะดือ ในขณะที่นวดปุ่มสมองก็ให้กวาดตามองจากซ้ายไปขวา ขวาไปซ้ายและจากพื้นขึ้นเพดาน
1. ใช้มือซ้ายวางบริเวณที่ใต้กระดูกคอและซี่โครงของกระดูกอก หรือที่เรียกว่าไหปลาร้าจะมีหลุมตื้น ๆ บนผิวหนัง ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ คลำหาร่องหลุ่มตื้นๆ 2 ช่องนี้ซึ่งห่างกันประมาณ 1 นิ้วหรือมากกว่านี้ขึ้นอยู่กับขนาด
2.ร่างกายของแต่ะละคนที่มีขนาดไม่เท่ากัน ให้นวดบริเวณนี้ประมาณ 30 วินาที และให้เอามือขวาวางไปที่ตำแหน่งสะดือ ในขณะที่นวดปุ่มสมองก็ให้กวาดตามองจากซ้ายไปขวา ขวาไปซ้ายและจากพื้นขึ้นเพดาน
2.ปุ่มขมับ
2.ปุ่มขมับ
1.ใช้นิ้วทั้งสองข้างนวดขมับเบาๆวนเป็นวงกลม ประมาณ 30 วินาที ถึง 1 นาที
2. กวาดตามองจากซ้ายไปขวา และจากพื้นมองขึ้นไปที่เพดาน
1.ใช้นิ้วทั้งสองข้างนวดขมับเบาๆวนเป็นวงกลม ประมาณ 30 วินาที ถึง 1 นาที
2. กวาดตามองจากซ้ายไปขวา และจากพื้นมองขึ้นไปที่เพดาน
3.ปุ่มใบหู
3.ปุ่มใบหู
1. ให้นิ่วหัวแม่มือกับนิ้วชี้จับที่ส่วนบนสุดด้านนอกของใบหูทั้ง 2 ข้าง
2. นวดตามริมขอบนอกของใบหูทั้ง 2 ข้างพร้อมๆกันให้นวดไล่ลงมาจนถึงติ่งหูเบา ๆ ทำซ้ำหลาย ๆ ครั้ง ควรทำท่านี้ก่อนอ่าน
ท่ากระตุ้นสมอง ซ้าย ขวา ท่าละ10 ครั้ง
1. ให้นิ่วหัวแม่มือกับนิ้วชี้จับที่ส่วนบนสุดด้านนอกของใบหูทั้ง 2 ข้าง
2. นวดตามริมขอบนอกของใบหูทั้ง 2 ข้างพร้อมๆกันให้นวดไล่ลงมาจนถึงติ่งหูเบา ๆ ทำซ้ำหลาย ๆ ครั้ง ควรทำท่านี้ก่อนอ่าน
ท่ากระตุ้นสมอง ซ้าย ขวา ท่าละ10 ครั้ง
4.แตะหู
4.แตะหู
1. มือขวาอ้อมไปที่หูซ้าย ส่วนมือซ้ายอ้อมไปจับหูขวา
2. เปลี่ยนมาเป็นมือซ้ายอ้อมไปจับหูขวาส่วนมือขวาอ้อมไปจับหูซ้าย
1. มือขวาอ้อมไปที่หูซ้าย ส่วนมือซ้ายอ้อมไปจับหูขวา
2. เปลี่ยนมาเป็นมือซ้ายอ้อมไปจับหูขวาส่วนมือขวาอ้อมไปจับหูซ้าย
5. แตะจมูก-แตะหู
5. แตะจมูก-แตะหู
1. มือขวาไปแตะที่หูซ้าย ส่วนมือซ้ายให้ไปแตะที่จมูก (ลักษณะมือไขวักัน)
2. เปลี่ยนมาเป็นมือซ้ายแตะที่หูขวา ส่วนมือขวาไปแตะที่จมูก (ลักษณะมือไขวักัน)
1. มือขวาไปแตะที่หูซ้าย ส่วนมือซ้ายให้ไปแตะที่จมูก (ลักษณะมือไขวักัน)
2. เปลี่ยนมาเป็นมือซ้ายแตะที่หูขวา ส่วนมือขวาไปแตะที่จมูก (ลักษณะมือไขวักัน)
6.โป้ง-ก้อย
6.โป้ง-ก้อย
1. ยกมือทั้งสองข้างให้มือขวาทำท่าโป้งโดยกำมือและยกหัวแม่มือขึ้นมา ส่วนมือซ้ายให้ทำท่าก้อย โดยกำมือและเหยียดนิ้วก้อยชี้ออกมา
2. เปลี่ยนมาเป็นโป้งด้วยมือซ้ายและก้อยด้วยมือขวา
3. ให้ทำสลับกันไปมา 10 ครั้ง
1. ยกมือทั้งสองข้างให้มือขวาทำท่าโป้งโดยกำมือและยกหัวแม่มือขึ้นมา ส่วนมือซ้ายให้ทำท่าก้อย โดยกำมือและเหยียดนิ้วก้อยชี้ออกมา
2. เปลี่ยนมาเป็นโป้งด้วยมือซ้ายและก้อยด้วยมือขวา
3. ให้ทำสลับกันไปมา 10 ครั้ง
7.จีบ-L
7.จีบ-L
1. ยกมือทั้งสองข้างขึ้นมาให้มือขวาทำท่าจีบ โดยใช้นิ้วหัวแม่มือประกบกับนิ้วชี้ส่วนนิ้วอื่นๆให้เหยียดออกไป
2. มือซ้ายให้ทำเป็นรูปตัวแอล (L) โดยให้กางนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ออกไป ส่วนนิ้วที่เหลือให้กำเอาไว้
3. เปลี่ยนเป็นจีบด้วยมือซ้ายบ้างทำเช่นเดียวกับข้อที่ 1 ส่วนมือขวาก็ทำเป็นรูปตัวเเอล (L)เช่นเดียวกับข้อ 2
4. ให้ทำสลับกันไปมา 10 ครั้ง
1. ยกมือทั้งสองข้างขึ้นมาให้มือขวาทำท่าจีบ โดยใช้นิ้วหัวแม่มือประกบกับนิ้วชี้ส่วนนิ้วอื่นๆให้เหยียดออกไป
2. มือซ้ายให้ทำเป็นรูปตัวแอล (L) โดยให้กางนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ออกไป ส่วนนิ้วที่เหลือให้กำเอาไว้
3. เปลี่ยนเป็นจีบด้วยมือซ้ายบ้างทำเช่นเดียวกับข้อที่ 1 ส่วนมือขวาก็ทำเป็นรูปตัวเเอล (L)เช่นเดียวกับข้อ 2
4. ให้ทำสลับกันไปมา 10 ครั้ง
8. นับ 1-10
8. นับ 1-10
ประโยชน์ของการบริหารท่านับ 1-10
- เพื่อกระตุ้นกล้ามเนื้อมือให้ประสานกัน เพื่อไม่ให้เกิดอาการนิ้วล็อค
- เพื่อกระตุ้นสมองที่มีการสั่งการให้เกิดความสมดุลทั้งซ้าย-ขวา
- เพื่อกระตุ้นความจำ
ประโยชน์ของการบริหารท่านับ 1-10
- เพื่อกระตุ้นกล้ามเนื้อมือให้ประสานกัน เพื่อไม่ให้เกิดอาการนิ้วล็อค
- เพื่อกระตุ้นสมองที่มีการสั่งการให้เกิดความสมดุลทั้งซ้าย-ขวา
- เพื่อกระตุ้นความจำ
9.ทุบ-ลูบ
นำมือทั้งสองวางบนโต๊ะ ใช้มือซ้ายลูบโต๊ะขึ้นลง ส่วนมือขวาทุบโต๊ะอยู่กับที่ ถ้าคล่องแล้วสามารถเปลี่ยนมืออีกข้างได้
10. การผ่อนคลาย=สัมผัสปลายนิ้ว
ยื่นใช้มือ ทั้ง 2 ข้างประกบกันในลักษณะพนมมือเป็นรูปดอกบัวตูม โดยให้นิ้วทุกนิ้วสัมผัสกันเบา ๆ พร้อมกับหายใจเข้า-ออก ทำท่านี้ประมาณ (5-10 นาที)
ยื่นใช้มือ ทั้ง 2 ข้างประกบกันในลักษณะพนมมือเป็นรูปดอกบัวตูม โดยให้นิ้วทุกนิ้วสัมผัสกันเบา ๆ พร้อมกับหายใจเข้า-ออก ทำท่านี้ประมาณ (5-10 นาที)
การนำสาระมาตรฐานทางคณิตศาสตร์ไปพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ของเด็กปฐมวัยได้หลากหลายกิจกรรมที่ครูจะทำให้เพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาด้านความคิดสร้างสรรค์ตัวอย่าง เช่น
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
เรื่องการรวมและการแยกกลุ่ม
สาระที่ 2 การวัด
เรื่องความยาวน้ำหนักและปริมาตร
สาระที่ 3 เรขาคณิต
เรื่องรูปเรขาคณิตสามมิติและรูปคณิตรูปเรขาคณิตสองมิติ
สาระที่4 พีชคณิต
เรื่องรูปแบบและความสัมพันธ์
สาระที่5 การวิเคราะห์ข้อมูลความน่าจะเป็น
เรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำเสนอ
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เรื่องการเก็บรวบรวมข้อมูล
เรขาคณิตสร้างสรรค์
แบบรูปสร้างสรรค์
ตัวเลขสร้างสรรค์
นำเสนอผลงานความคิดสร้างสรรค์
ส่งใบบันทึกการเข้าเรียน
อาจารย์มอบรางวัลเด็กดีให้กับผู้ที่มีดาวความรับผิดชอบมากที่สุด
เป็นการเสริมแรงในการเรียนรู้
Apply
สาระมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาตร์สามารถนำมาต่อยอดให้เกิดความสร้างสรรค์เป็นการกระตุ้นการใช้ความคิดและจินตนาการของเด็ก ช่วยให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์
การเล่นเกมก่อนการเรียนทำให้มีสมาธิและกระตือรือร้นเพิ่มมากขึ้น
การเสริมแรงโดยการให้ของขวัญนักเรียนจะช่วยให้เกิดการกระตุ้นและผลักดันให้เด็กอยากมาเรียนและเพียรพยาม ปรับปรุง ให้ดีขึ้นอยู่ตลอดเวลา
Teaching methods
-บรรยายตามโปรแกรม Microsoft Power Point
-การลงมีมือปฏิบัติ
-สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
-การร้องเพลง
Assessment
Place : อากาศถ่ายเทสะดวก อุปกรณ์มีความพร้อมในการใช้งาน
Myself : แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าเรียนไม่ตรงเวลา ให้ความร่ามือในการทำกิจกรรมต่างๆ
Classmate : ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
Instructor : แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าสอนตรงเวลา สอดแทรกกิจกรรมและจริยธรรมในการสอน