บันทึกอนุทินครั้งที่ 3
ประจำวันจันทร์ที่ 7 กันยายน 2558
Knowledge
การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เด็กปฐมวัย
"ความคิดสร้างสรรค์ไม่สามารถบังคับให้เกิดขึ้นได้"
อธิบายความสามารถของสมองมนุษย์เป็นแบบจำลอง 3 มิติ
การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เด็กปฐมวัย
"ความคิดสร้างสรรค์ไม่สามารถบังคับให้เกิดขึ้นได้"
แนวคิดทฤษฎีทางความคิดสร้างสรรค์
แนวคิดและทฤษฎีโครงสร้างทางปํญญาของ Guilfordอธิบายความสามารถของสมองมนุษย์เป็นแบบจำลอง 3 มิติ
มิติที่ 1 เนื้อหา
(ข้อมูลหรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด)•ภาพ
(ข้อมูลหรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด)•ภาพ
สัญลักษณ์
ภาษา
พฤติกรรม
มิติที่ 2 วิธีคิด
(กระบวนการทำงานของสมอง)
(กระบวนการทำงานของสมอง)
การรู้และเข้าใจ
การจำ
การคิดแบบอเนกนัย
การคิดแบบเอกนัย
การประเมินค่า
มิติที่ 3 ผลของการคิด
(การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
(การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
หน่วย ระบบ
จำพวก การแปลงรูป
ความสัมพันธ์ การประยุกต์
ทฤษฎี Constructivism
เด็กเรียนรู้เอง
เด็กคิดเอง
ครูกับเด็กเรียนรู้ไปด้วยกัน
สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง
ทฤษฎีของ
Torrance
ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการของความรู้สึกต่อปัญหา
แล้วรวบรวมความคิดตั้งเป็นสมมติฐาน และเผยแพร่ผลที่ได้จากการทดสอบ
ขั้นที่ 1 การพบความจริง
ขั้นที่ 2 การค้นพบปัญหา
ขั้นที่ 3 การตั้งสมมติฐาน
ขั้นที่ 4 การค้นพบคำตอบ
ขั้นที่ 5 ยอมรับผล
บรรยากาศที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เด็กรู้สึกปลอดภัย
ให้เด็กได้ลองเล่นคนเดียว
ได้สำรวจ ค้นคว้า
และสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
ขจัดอุปสรรค
ไม่มีการแข่งขัน
ให้ความสนใจเด็ก
กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
Torrance ได้กล่าวถึงลักษณะของกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไว้ 3 ลักษณะ
ลักษณะที่ 1 ความไม่สมบูรณ์
การเปิดกว้าง (Incompleteness,
Openness)
ลักษณะที่ 2 การสร้างบางอย่างขึ้นมา
และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
(Producing Something and Using It)
ลักษณะที่ 3 การใช้คำถามของเด็ก (Using Pupil Question)
1.
คำถามที่ส่งเสริมความคิดคล่องแคล่ว -คิดให้ได้มากที่สุด
2.
คำถามที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม -คิดหรือทำสิ่งที่ไม่เคยมีใครคิดหรือทำมาก่อน
3.
คำถามที่ส่งเสริมความคิดยืดหยุ่น -ได้คำตอบที่หลากหลาย
4.
คำถามที่ส่งเสริมความคิดละเอียดลออ -คิดให้เห็นรายละเอียดปลีกย่อยต่างๆ
ภาพตัวอย่างของลักษณะความคิดสร้างสรรค์
Activity
กิจกรรมไร่สตรอเบอรี่ : เป็นกิจกรรมเกมทายใจเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมก่อนการเรียน และทำให้เกิดความกระตือรือร้น
กิจกรรมสีจากดอกไม้
ถามความรู้เดิมของเด็กว่าเด็กเคยเห็นดอกไม้ชนิดนี้ไหม
-เมื่อเด็กตอบชนิดของดอกไม้ครูต้องย้อนคำถาม เช่นเด็กตอบว่าดอกมะลิ ครูต้องพูดกับเด็กว่าดอกมะลิสีขาว-ร้องเพลงหรือเล่านิทานที่เกี่ยวกับดอกไม้
-จากนั้นอาจารย์ก็สาธิตการสอนเด็กๆในการใช้วัสดุจากธรรมชาติในการระบายสีลงบนกระดาษตามจินตนาการ
-จากนั้นก็ให้เด็กๆไปเก็บดอกไม้ ใบไม้ มาเพื่อทำกิจกรรมระบายจากสีของดอกไม้ให้เป็นรูปภาพ
-นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนว่า ใช้วัสดุอะไรบ้างเเละได้สีกี่สี
ถามความรู้เดิมของเด็กว่าเด็กเคยเห็นดอกไม้ชนิดนี้ไหม
-เมื่อเด็กตอบชนิดของดอกไม้ครูต้องย้อนคำถาม เช่นเด็กตอบว่าดอกมะลิ ครูต้องพูดกับเด็กว่าดอกมะลิสีขาว-ร้องเพลงหรือเล่านิทานที่เกี่ยวกับดอกไม้
-จากนั้นอาจารย์ก็สาธิตการสอนเด็กๆในการใช้วัสดุจากธรรมชาติในการระบายสีลงบนกระดาษตามจินตนาการ
-จากนั้นก็ให้เด็กๆไปเก็บดอกไม้ ใบไม้ มาเพื่อทำกิจกรรมระบายจากสีของดอกไม้ให้เป็นรูปภาพ
-นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนว่า ใช้วัสดุอะไรบ้างเเละได้สีกี่สี
-นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนว่า ใช้วัสดุอะไรบ้างเเละได้สีกี่สี
Apply
ครูไม่ควรปิดกั้นความคิดแลละจิตนาการของเด็ก แต่ควรส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมทางศิลปะเป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และจิตนาการ ทำให้เด็กมีความภาคภูมิใจในตนเอง เชื่อมั่นในตนเอง
Teaching methods
Assessment
Place : อากาศถ่ายเทสะดวก อุปกรณ์มีความพร้อมในการใช้งาน
Myself : แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าเรียนไม่ตรงเวลา
-บรรยายตามโปรแกรม Microsoft Power Point
-การลงมีมือปฏิบัติ
-สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
-การร้องเพลง
Place : อากาศถ่ายเทสะดวก อุปกรณ์มีความพร้อมในการใช้งาน
Myself : แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าเรียนไม่ตรงเวลา
Classmate : ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
Instructor : แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าสอนตรงเวลา สอดแทรกกิจกรรมและจริยธรรมในการสอน
Instructor : แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เข้าสอนตรงเวลา สอดแทรกกิจกรรมและจริยธรรมในการสอน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น